บทที่ 6

บทที่ 6
การออกแบบงานสถาปัตยกรรม

สรุปภาพรวมโครงการ
โครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยองตั้งอยู่บริเวณปากแม่น้ำจังหวัดระยอง ติดกับพื้นที่ศูนย์ศึกษาป่าชายเลน จังหวัดระยอง ด้านหน้าอาคารติดกับถนนเลียบหาดแสงจันทร์  ด้านหลังติดกับป่าชายเลน โครงการมีทั้งส่วนของห้องปฏิบัติการงานวิจัย ส่วนสำนักงาน  ส่วนจัดแสดงนิทรรศการ และส่วนสัมมนา และส่วนร้านอาหารเป็นสนับสนุนโครงการ

6.1แนวความคิดการออกแบบ

โครงการศูนย์วิจัยนี้มีแนวคิดในการออกแบบจากบริบทโครงการที่มีทั้งแม่น้ำ ป่าชายเลน และทะเล จึงจัดให้มีพื้นที่ในการเชื่อมต่อของกิจกรรมภายในโครงการ  การนำพื้นที่สีเขียวมาใช้ในโครงการ เพื่อลดความร้อนที่จะเข้าสู่อาคาร 



รูปภาพที่ 6. 1แสดงแนวความคิดในการออกแบบ

6.2พื้นที่บริเวณรอบโครงการ


รูปภาพที่ 6.2แสดงพื้นที่บริเวณโดยรอบโครงการ




6.3ผังบริเวณโครงการ

 




รูปภาพที่ 6.3 แสดงผังบริเวณโครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม
6.4ผังพื้นทุกชั้น
ผังพื้นชั้น 1
 




รูปภาพที่ 6. 4 แสดงผังพื้นชั้น 1




ผังพื้นชั้น 2



รูปภาพที่ 6. 5 แสดงผังพื้นชั้น 2

ผังพื้นชั้น 3


รูปภาพที่ 6. 6 แสดงผังพื้นชั้น 3


ผังชั้นหลังคา


รูปภาพที่ 6. 7 แสดงผังชั้นหลังคา

6.5 รูปด้านอาคาร

ELEVATION A



รูปภาพที่ 6. 8 แสดงรูปด้านอาคาร A

ELEVATION B


รูปภาพที่ 6. 9 แสดงรูปด้านอาคาร B

ELEVATION C


รูปภาพที่ 6. 10 แสดงรูปด้านอาคาร C

ELEVATION D


รูปภาพที่ 6. 11 แสดงรูปด้านอาคาร D

6.6 รูปตัดอาคาร
รูปตัด A

รูปภาพที่ 6. 12 แสดงรูปตัด A


รูปตัด B


รูปภาพที่ 6. 13 แสดงรูปตัด B

6.7 งานระบบอาคาร
ระบบประปา




รูปภาพที่ 6. 14 แสดง ไดอาแกรม ระบบประปาโครงการ

ระบบประปา


รูปภาพที่ 6. 15 แสดง ไดอาแกรม ระบบน้ำเสียโครงการ

ระบบไฟฟ้า


รูปภาพที่ 6. 16 แสดง ไดอาแกรมระบบไฟฟ้าโครงการ

ระบบปรับอากาศ

รูปภาพที่ 6. 17 แสดงระบบปรับอากาศ

ระบบVRV เป็นระบบปรับอากาศแบบแยกส่วน(Split Type) ที่ชุดภายนอก(Outdoor Unit) 1ชุดสามารถต่อเข้ากับชุดภายในได้หลายชุดโดยใช้คอมเพรสเซอร์เป็นตัวขับเคลื่อนด้วยเทคโนโลยีการปรับน้ำ ยาทาความเย็นที่ส่งออกจากตัวคอมเพรสเซอร์เข้าสู่ Fan Coil เปลี่ยนแปลงตามความต้องการ ส่งผลให้สามารถควบคุมอุณหภูมิในพื้นที่ปรับอากาศได้ดีกว่าระบบเดิม


6.8 ระบบโครงสร้าง
รูปภาพที่ 6. 18 แสดงระบบโครงสร้างอาคาร

พื้น Post Tension โดยทั่วไปคือระบบพื้น คอนกรีตที่มีเหล็กเส้นที่รับแรงดึงเสริมอยู่ภายใน และทำการดึงเส้นเหล็กนั้นให้ตึงเมื่อหล่อคอนกรีตเสร็จแล้ว เพื่อเพิ่มความแข็งแรงของพื้นทำให้โครงสร้างชนิดนี้มีหน้าตัดที่บางลง และไม่จำเป็นต้องมีคานมารัดหัวเสาเพื่อการถ่ายน้ำหนัก จากพื้นสู่เสา เพื่อให้โครงสร้างสามารถรับแรงได้มากกว่าปกติ จนทาให้โครงสร้างพื้นเห็นเป็นเพียง

แผ่นคอนกรีตบาง ๆ (20-28 ซม.) ไม่มีคานมารับตามช่วงเสา และยังลดความสูงระหว่างชั้นได้ด้วย

ระบบหลังคา
รูปภาพที่ 6. 19 แสดงตำแหน่งและระบบหลังคา Green Roof

ชนิดของต้นไม้ที่เลือกใช้ จะเลือกต้นไม้ที่อยู่แดด หรือทนทานสภาวะอากาศได้ดี เพราะบนดาดฟ้าจะมีความร้อนมากความชื้นน้อย และลมที่แรงกว่าปกติ เลือกพันธ์ไม้ที่รากไม้ไม่ทำลายโครงสร้างอาคาร


ระบบ พลังงานแสงอาทิตย์

รูปภาพที่ 6. 20 แสดงไดอะแกรมโซล่าเซลล์


6.9 ทัศนียภาพภายนอกโครงการ









































ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น