บทที่4

 รายละเอียดโครงการ

 รายละเอียดโครงการเป็นการสังเคราะห์ข้อมูลในแต่ละด้านเพื่อนาไปกำหนดหาความต้องการการใช้งานในเชิงปริมาณที่มีความเกี่ยวข้องกับโครงการ โดยจะมีการแยกพิจารณาในด้านหัวข้อ ด้านหน้าที่ใช้สอย ด้านรูปแบบ ด้านเศรษฐศาสตร์ ด้านเทคโนโลยี เพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ของโครงการที่ตรงเป้าหมายและชัดเจนมากยิ่งขึ้น

 ข้อคำนึงถึงในการทำรายละเอียดโครงการ
1.รายละเอียดโครงการจำเป็นที่จะต้องสอดคล้องกับโครงการในแง่ของความต้องการด้านหน้าที่ใช้สอย ด้านรูปแบบ ด้านเศรษฐศาสตร์ และด้านเทคโนโลยีเพื่อให้เกิดความเป็นไปได้ของโครงการ
2.รายละเอียดของโครงการจะต้องไม่ขัดแย้งกับกฎหมายข้อบังคับต่างๆที่เกี่ยวกับประเภทอาคารและข้อจากัดต่างๆ ในแต่ละพื้นที่ของโครงการ
3.รายละเอียดโครงการจะได้จากการสังเคราะห์แนวความคิดโครงการ โดยอาจจะต้องใช้หลักการทางคณิตศาสตร์มาใช้ในการคำนวณหรือสังเคราะห์เพื่อให้ได้ความต้องการโครงการที่เป็นรูปธรรมโดยที่จะต้องตอบสนองต่อเป้าหมายของโครงการในทุกๆ ด้าน
4.ในขั้นตอนของการออกแบบอาจที่จะต้องมีการปรับเปลี่ยนในรายละเอียดความต้องการของโครงการแต่ต้องรักษาภาพรวมของโครงการไว้โดยการเปลี่ยนแปลงนั้นไม่ควรที่จะเกิน 5 %ของข้อมูลรวม
 5.ในทุกรายละเอียดและข้อมูลของโครงการจะต้องสามารถที่จะอ้างอิงได้ไม่ว่าจะเป็นการวิเคราะห์จากโครงการตัวอย่างจากผู้เชี่ยวชาญหรือจากการค้นคว้าในหนังสือ ซึ่งจะต้องมีการอ้างอิงทุกครั้งที่นามาใช้ในการเขียนความต้องการโครงการ
4.1 รายละเอียดโครงการด้านหน้าที่ใช้สอย (FUNCTION NEEDS)
การคำนวณหาพื้นที่ใช้สอยแล้วสามารถนาไปกำหนดความต้องการโครงการด้านหน้าที่ใช้สอยออกมาในรูปแบบของพื้นที่ได้โดยการคำนวณหาพื้นที่ ซึ่งจาเป็นต้องมีข้อพิจารณาดังต่อไปนี้
1.จานวนผู้ใช้ประจำและระยะเวลาการใช้งาน
 2.ความถี่ของการใช้งาน
3.ปริมาณกิจกรรมหลัก
4.ความต้องการในการใช้พื้นที่ของกิจกรรม
5.ประสิทธิภาพอาคาร
6.สัดส่วนของพื้นที่ของกิจกรรม
7.กฎหมาย, ข้อบังคับและเทศบัญญัติ
ในการคำนวณพื้นที่ใช้สอยโครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อมสามารถแยกคำนวณส่วนต่างของโครงการ ได้ดังนี้
1. ส่วนบริหาร
2. ส่วนวิจัยและพัฒนา
3. ส่วนสัมมนา
4. ส่วนนิทรรศการ
5. ส่วนบริการ
6. ส่วนร้านอาหาร
7. ส่วนที่จอดรถ
ตารางที่4.1 แสดงรายละเอียดพื้นที่โครงการศูนย์วิจัย
องค์ประกอบ
พื้นที่ใช้สอยสุทธิ
(ตร..)
พื้นที่สัญจร
พื้นที่รวม
(ตร,.)
%
Area
ส่วนบริหาร
193.50
30
58.05
251.55
ส่วนวิจัยและพัฒนา
1,775
30
532.50
2,307.50
ส่วนสัมมนา
200
30
60.00
260.00
ส่วนนิทรรศการ
617
30
185.10
802.10
ส่วนบริการ
450
30
135.00
585.00
ส่วนร้านอาหาร
200
30
60.00
260.00
ส่วนที่จอดรถ
562


1,150.00
รวม

5,616.15
 •ปริมาณผู้ใช้โถงส่วนบริหาร
พนักงานและเจ้าหน้าที่ในส่วนบริหารทั้งหมด 20 คน ในช่วงเร่งด่วนทั้ง 16 คนจะเข้ามาใช้ใน ช่วงเวลา 30 นาที
1 คนใช้เวลาประมาณ 10 นาที
ปริมาณผู้ใช้โถงส่วนบริหาร                                  = 16 x 10 ÷ 30
= 5.33คน / ช่วง
ปริมาณผู้ใช้โถงในส่วนบริหาร...................................................6 คน / ช่วง
กำหนดให้มีพื้นที่รับแขกรองรับได้ 50% ของผู้ใช้ในโถง
ปริมาณผู้ใช้ส่วนรับแขก = 6 x 0.5
ปริมาณผู้ใช้ส่วนรับแขก = 3 คน
ปริมาณผู้ยืนในโถง = 3 คน
ปริมาณผู้ใช้ห้องประชุม
ในการประชุมจะมีทั้งผู้ประชุม สรุปการทางานรวมทั้งองค์กรและประชุมสรุปการทางาน
ในแต่ละแผนก ซึ่งแผนกที่มีพนักงานมากที่สุด มีจานวน 16 คน
ปริมาณผู้ใช้ห้องประชุม.............................................................16 คน / ช่วง
ปริมาณผู้ใช้ห้องอาหารของส่วนบริหาร
เวลาในการพักผ่อนของพนักงานส่วนบริหารคือเวลา 12.00 - 13.00 . เป็นเวลา 60 นาที
จำนวนพนักงานทั้งหมดในส่วนบริหาร = 16 คน
ใช้เวลาในการรับประทานอาหาร / 1 คน = 30 นาที
ปริมาณผู้ใช้ห้องอาหาร = 16 x 30 ÷ 60
ปริมาณผู้ใช้ห้องอาหารส่วนบริหาร..........................................8 คน / ช่วง
ปริมาณผู้ใช้ส่วนพักผ่อนของส่วนบริหาร
เวลาในการพักผ่อนของพนักงานส่วนบริหารคือเวลา 12.00 - 13.00 . เป็นเวลา 60 นาที
จำนวนพนักงานทั้งหมดในส่วนบริหาร = 20 คน
ใช้เวลาในการพักผ่อน / 1 คน = 30 นาที
ปริมาณผู้ใช้ส่วนพักผ่อน = 16 x 30 ÷ 60
ปริมาณผู้ใช้ส่วนพักผ่อนของส่วนบริหาร.................................8 คน / ช่วง




ตารางที่4.2 แสดงการคำนวณพื้นที่โครงการส่วนบริหารและธุรการ

Function
ผู้ใช้-หน่วย
จำนวนหน่วย
พื้นที่/หน่วย
พื้นที่รวม
จนท.
ผู้ใช้
ผู้อำนวยการ
1

1
35ตรม./คน
35ตรม.
รองผู้อำนวยการ
1

1
16ตรม./คน
16ตรม.
เลขานุการ
1

1
5ตรม./คน
5ตรม.
หัวหน้าฝ่ายบริหาร
1

1
6ตรม./คน
6ตรม.
เจ้าหน้าที่บริหารงานธุรการ
2

1
6ตรม./คน
6ตรม.
หัวหน้าฝ่ายอาคารและสถานที่
1

1
6ตรม./คน
6ตรม.
เจ้าหน้าที่ซ่อมบำรุง
1

1
6ตรม./คน
6ตรม.
หัวหน้าฝ่ายประชาสัมพันธ์
1

1
6ตรม./คน
6ตรม.
พนักงานโทรศัพท์
1

1
6ตรม./คน
6ตรม.
หัวหน้าฝ่ายวิชาการ
1

1
6ตรม./คน
6ตรม.
นักวิชาการสิ่งแวดล้อม
2

1
6ตรม./คน
12ตรม.
หัวหน้าฝ่ายนิทรรศการ
1

1
6ตรม./คน
6ตรม.
เจ้าหน้าที่นิทรรศการ
2

1
6ตรม./คน
12ตรม.
ห้องถ่ายเอกสาร


1
6ตรม./คน
6ตรม.
ห้องประชุม

8
1
35ตรม./คน
35ตรม.
ห้องน้ำ




20ตรม.
พื้นที่ใช้งานสุทธิ




189
พื้นที่สัญจร 30%




57
รวมพื้นที่องค์ประกอบส่วนบริหารและธุรการ





246

ส่วนวิจัยและพัฒนา
ส่วนนี้เป็นส่วนหลักของโครงการ ซึ่งบุคลากรในส่วนนี้จะเป็นบุคลากรในโครงการทั้งหมด  
โดยในศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง
มีจำนวนนักวิจัยทั้งหมด 70 คน
คิดจากคำนวณเจ้าหน้าที่วิจัยทั้งหมด = 70 คน
วิเคราะห์การใช้ในช่วงเวลาเดียวกัน 30% ของเจ้าหน้าที่ทั้งหมด = 21 คน
ใช้พื้นที่ = 0.64 ตรม./คนจะใช้พื้นที่โถงทางเข้า = 12.80 ตร..

ตารางที่4.3 แสดงการคำนวณพื้นที่โครงการส่วนวิจัยและพัฒนา

Function
ผู้ใช้-หน่วย
จำนวนหน่วย
พื้นที่/หน่วย
พื้นที่รวม
จนท.
ผู้ใช้
ส่วนกลางวิจัย
โถง
21

1
0.64ตรม./คน
15ตรม.
ห้องประชุม
15

1
2ตรม./คน
30ตรม.
ห้องทำงานหัวหน้าฝ่ายวิจัย
1

1
12ตรม./คน
12ตรม.
ห้องทำงานฝ่ายวิจัย
4

1
4.5ตรม./คน
18ตรม.
ห้องพยาบาล
2

1
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
ห้องเปลี่ยนเสื้อผ้า ชาย/หญิง


1
25ตรม./หน่วย
25ตรม.
ห้องฆ่าเชื้อ


1
22ตรม./หน่วย
22ตรม.
ห้องมืด


1
18ตรม./หน่วย
18ตรม.
ห้องเก็บและส่งจ่ายก๊าซ


1
18ตรม./หน่วย
18ตรม.
GC-MS Room


1
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
Atomic Absorption


1
38ตรม./หน่วย
38ตรม.
ห้องล้างเครื่องแก้ว


1
35ตรม./หน่วย
38ตรม.
ห้องพัสดุทางเคมี


1
18ตรม./หน่วย
18ตรม.
Electron Microscope Room


1
38ตรม./หน่วย
38ตรม.
Intrusment Room


1
30ตรม./หน่วย
30ตรม.
Gas Chromatograph Room


1
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
Heating Room


1
25ตรม./หน่วย
25ตรม.
ห้องน้ำ




47ตรม.
รวม

539ตรม.


ส่วนวิจัยด้านน้ำ
ห้องปฏิบัติการวิจัย



8

30ตรม./หน่วย

30ตรม.
Chemical Analysis Room


5
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
Biological Laboratory


5
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
Preparation Room


2
22ตรม./หน่วย
22ตรม.
Intrusment Room


3
22ตรม./หน่วย
22ตรม.

ส่วนวิจัยด้านอากาศ
ห้องปฏิบัติการวิจัย



6

50ตรม./หน่วย

50ตรม.
Air Polution Analysis Room


4
38ตรม./หน่วย
38ตรม.
Physic Laboratory


5
38ตรม./หน่วย
38ตรม.
Equipment Room



25ตรม./หน่วย
25ตรม.

ส่วนวิจัยด้านสารพิษ
ห้องปฏิบัติการวิจัย



10

50ตรม./หน่วย

50ตรม.
Toxic Substance Analysis Room


5
50ตรม./หน่วย
50ตรม.
Poison Research Laboratory


4
60ตรม./หน่วย
60ตรม.
Intrusment Room


3
45ตรม./หน่วย
45ตรม.

ส่วนวิจัยด้านของเสียและชีวมวล
ห้องปฏิบัติการวิจัย



3

35ตรม./หน่วย

35ตรม.
Solid Waste Analysis


4
25ตรม./หน่วย
25ตรม.

ส่วนวิจัยด้านเสียง
ห้องปฏิบัติการวิจัย



4

25ตรม./หน่วย

25ตรม.
Noise Laboratory


4
50ตรม./หน่วย
50ตรม.
Noise Equipment Room



33ตรม./หน่วย
33ตรม.
Noise Model Lab


3
35ตรม./หน่วย
35ตรม.
ห้องน้ำ


2
40ตรม./หน่วย
80ตรม.
ส่วนพักผ่อนเจ้าหน้าที่


4
80ตรม./หน่วย
320ตรม./หน่วย
รวม




1,131ตรม.
พื้นที่ใช้งานสุทธิ




1,670ตรม.
พื้นที่สัญจร 30%




501ตรม.
รวมพื้นที่องค์ประกอบส่วนวิจัยและพัฒนา





2,171ตรม.

ส่วนสัมมนา
ห้องฟังบรรยาย
คิดจากผู้ใช้สอย 140 คน โดยชื้นที่นั่งชม 1 ตารางเมตร/คน
ดังนั้นจะได้พื้นที่นั่งชม = 140 ตารางเมตร
circulation 30% คิดเป็นพื้นที่ = 42 ตารางเมตร
รวมพื้นที่นั่งชม = 182 ตารางเมตร
โถงต้อนรับ
คิดพื้นที่โถงต้อนรับ = 0.64 ตรม./คน
ดังนั้นจะได้พื้นที่โถง 0.64 x 140 = 90 ตารางเมตร
Stage
คิดจาก 50% ของพื้นที่
stage = 60 ตารางเมตร
Black Stage
คิดจาก 50% ของพื้นที่
black stage = 30 ตารางเมตร

ตารางที่4.4 แสดงการคำนวณพื้นที่โครงการส่วนสัมมนา
Function
ผู้ใช้-หน่วย
จำนวนหน่วย
พื้นที่/หน่วย
พื้นที่รวม
จนท.
ผู้ใช้
โถงทางเข้า

140
1
90ตรม./หน่วย
90ตรม.
ห้องฟังสัมมนา

140
1
182ตรม./หน่วย
82ตรม.
พื้นที่เวทีรวม


1
60ตรม./หน่วย
60ตรม.
Back stage


1
30ตรม./หน่วย
30ตรม.
ห้องเก็บของ


1
15ตรม./หน่วย
15ตรม.
ห้องน้ำ




45ตรม.
พื้นที่ใช้งานสุทธิ




322
พื้นที่สัญจร 30%




97
รวมพื้นที่องค์ประกอบส่วนสัมมนา





419



ส่วนนิทรรศการจัดแสดง
ส่วนบริการนิทรรศการ
โถงทางเข้า
คิดจากจำนวนผู้เข้ามาชมนิทรรศการ                                                                                                                                                                               = 70 คน
กำหนดให้ส่วนนิทรรศการเปิดวันจันทร์-วันศุกร์เวลาทำการ 8 ชั่วโมง
จะได้ผู้เข้าชมแต่ละช่วง 70/8                                                                                                                                                                                                                             = 9 คน/ชั่วโมง
เวลาในการใช้โถงแต่ละคน                                                                                                                                                                                                                                             = 15 นาที ใน 1 ชั่วโมง
จะมีคนมาใช้ = 4 ผลัด ในแต่ละผลัดจะมีคนใช้                                                                                                               = 5 คน
เผื่อการมาเป็นหมู่คณะในเวลาเดียวกันกับผู้ใช้ทั่วไป 30 คน
จะได้จำนวนผู้ใช้โถงมากที่สุด 35 คน
พื้นที่ที่ใช้                                                                                                                                                                                                                                                                                                                                             = 0.64 ตร../คน
ดังนั้นต้องการพื้นที่ 0.64 x 35                                                                                                                                                                                                               = 22.4 ตารางเมตร
ส่วนพักคอย คิดจาก 20% ของผู้ใช้สูงสุด 70 x 0.2                                                                                                           = 14 คน
ต้องการพื้นที่ = 1.2 ตร../คน จะได้พื้นที่โถง                                                                                                                               = 17 ตารางเมตร

ส่วนติดต่อสอบถาม-ประชาสัมพันธ์
ต้องการพื้นที่                                                                                                                                                                                                                                                                                                                = 6 ตารางเมตร
จะได้พื้นที่ประชาสัมพันธ์                                                                                                                                                                                                                                                           = 12 ตารางเมตร
ห้องเก็บงาน 1/3 ของพื้นที่แสดงงาน(250/3)                                                                                                                                            = 84 ตารางเมตร
ห้องเตรียมจัดแสดง 1/3 ของพื้นที่เก็บงาน(84/3)                                                                                                              = 28 ตารางเมตร

ตารางที่4.5แสดงการคำนวณพื้นที่โครงการส่วนนิทรรศการ

Function
ผู้ใช้-หน่วย
จำนวนหน่วย
พื้นที่/หน่วย
พื้นที่รวม
จนท.
ผู้ใช้
โถงทางเข้า

35
1
0.64ตรม./คน
30ตรม.
ส่วนพักคอย

14
1
1.20ตรม./คน
20ตรม.
ติดต่อสอบถาม
2

1
6ตรม./คน
12ตรม.
ห้องเก็บของ


1
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
พื้นที่จัดแสดงถาวร


1
250ตรม./หน่วย
250ตรม.
พื้นที่จัดแสดงชั่วคราว



150ตรม./หน่วย
150ตรม.
ห้องน้ำ



50ตรม./หน่วย
50ตรม./หน่วย
พื้นที่ใช้งานสุทธิ




552ตรม.
พื้นที่สัญจร 30%




166ตรม.
รวมพื้นที่องค์ประกอบส่วนนิทรรศการ





718ตรม.

ส่วนบริการสาธารณะ

ตารางที่4.6 แสดงการคำนวณพื้นที่โครงการส่วนบริการสาธารณะ

Function
ผู้ใช้-หน่วย
จำนวนหน่วย
พื้นที่/หน่วย
พื้นที่รวม
จนท.
ผู้ใช้
โถงทางเข้า

160
1
0.64ตรม./คน
103ตรม.
ส่วนประชาสัมพันธ์
2

1
6ตรม./คน
12ตรม.
ส่วนโทรศัพท์สาธารณะ


2
0.72ตรม./คน
1.50ตรม.
ส่วนบริการครัว


1
80ตรม./หน่วย
80ตรม.
ส่วนรับประทานอาหาร


1
150ตรม./หน่วย
150ตรม.
ห้องน้ำ



50ตรม./หน่วย
50ตรม./หน่วย
พื้นที่ใช้งานสุทธิ




426.50ตรม.
พื้นที่สัญจร 30%




128ตรม.
รวมพื้นที่องค์ประกอบส่วนบริการสาธารณะ





554.50ตรม.


ส่วนบริการทั่วไป

ตารางที่4.8 แสดงการคำนวณพื้นที่โครงการส่วนบริการ
Function
ผู้ใช้-หน่วย
จำนวนหน่วย
พื้นที่/หน่วย
พื้นที่รวม
จนท.
ผู้ใช้
ห้องพักเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย
3

1
4.5ตรม./คน
14ตรม.
ห้องพักพนักงานขับรถ คนสวน
4

1
4.5ตรม./คน
18ตรม.
ห้องพักนักการ ภารโรง ซ่อมบำรุง
4

1
4.5ตรม./คน
18ตรม.
ส่วนซ่อมบำรุง


1
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
ห้องเก็บขยะ


1
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
ห้องน้ำ



20ตรม./หน่วย
20ตรม./หน่วย
พื้นที่ใช้งานสุทธิ




154ตรม.
พื้นที่สัญจร 30%




46ตรม.
รวมพื้นที่องค์ประกอบส่วนบริการสาธารณะ





200ตรม.

ส่วนบริการเทคนิค
ห้อง MDB (Main Distribution Board)
ประมาณการใช้ไฟฟ้า ในแต่ละประเภทของอาคารแตกต่างกันออกไปไม่เท่ากัน ดังนั้นจะแสดงเป็นตาราง ดังนี้
ตาราง 4.9 แสดงปริมาณการใช้ไฟฟ้าของอาคารแต่ละประเภท

Function
ปริมาณไฟฟ้าที่ใช้(VA/ตร..)
สำนักงาน
50
ส่วนปฏิบัติการ/โรงเรียน
30
ส่วนชุมชน
10
ร้านค้า
30
ภัตตาคาร/สโมสร
20

พื้นที่ใช้สอยในอาคารทั้งหมด                                                                                                                                                        =                      5,643 ตารางเมตรคิด
เป็นปริมาณไฟฟ้าได้                                                                                                                                                                                                                                            282,150 VA
หรือคิดเป็น                                                                                                                                                                                                                                                                                            282.15 KVA
ตู้จ่ายไฟฟ้าหลัก 1 ตู้                                                                                                                                                                                                                                           500 KVA
เพราะฉะนั้นต้องใช้จานวนตู้จ่ายไฟฟ้าทั้งหมด                                                                                            1 ตู้
1 ตู้ ขนาด 0.80 x 2.50                                                                                                                                                                           =                      2 ตารางเมตร
ระยะปลอดภัย 0.35 เมตร รอบตู้ 1.50 x 3.20                                                        =                      4.80 ตารางเมตร
พื้นที่โดยรอบตู้กว้าง                                                                                                                                                                                                                                            2 เมตร
เพราะฉะนั้นพื้นที่รวมห้อง MDB = 5.50 x 7.20                                          =                      40 ตร../ตู้
ใช้ตู้ MDB 1 ตู้                                                                                                                                                                                                                                        =                      40 ตร../ตู้

ห้อง Transformer ปริมาณไฟฟ้าในโครงการ                                                          =                      282.15 KVA
ขนาดของตัว Transformer                                                                                                                                                          =                      84 นิ้ว x 84 นิ้ว
=                2.10 . x 2.10 .
เว้นพื้นที่โดยรอบ 3 เมตร และ 2 เมตร                                                                                            =                      8.10 x 6.10
พื้นที่ Transformer 1 ตัว                                                                                                                                                                                     =                      49.41 ตารางเมตร
เนื่องจากโครงการใช้ตู้ MDB                                                                                                                                                                                             1 ตู้
เพราะฉะนั้นต้องใช้ Transformer 1 ตัว                                                                                         =                      50 ตารางเมตร

ห้องกำเนิดไฟฟ้าสารอง (Emergency General Room)
จะใช้ General with Control Panel (200 KVA)
ขนาดของเครื่อง 0.80 x 2.00                                                                                                                                           =                         1.60 ตร../ตัว
ระยะปลอดภัย                                                                                                                                                                                                                            =                      0.35 เมตร
Set พื้นที่ด้านข้าง ด้านละ                                                                                                                                                                        =                      1.50 เมตร
Set พื้นที่บริเวณท้ายเครื่อง ไม่ต่ำกว่า                                                                                                         =                      2.50 เมตร
เพราะฉะนั้นพื้นที่ห้อง General Room                                                                                          =                      5 x 7 เมตร
=                35 ตารางเมตร
ต้องใช้จำนวนสองเครื่อง                                                                                                                                                                          =                                  35 x 2 ตารางเมตร
                                                                                                                                                                                                                                                                                                                        =                                  70 ตารางเมตร

ตารางที่ 4.10 แสดงการคำนวณพื้นที่โครงการส่วนบริการเทคนิค

Function
ผู้ใช้-หน่วย
จำนวนหน่วย
พื้นที่/หน่วย
พื้นที่รวม
จนท.
ผู้ใช้
Control Room


1
40ตรม./หน่วย
40ตรม.
MDB Room(Main Distribution Board)


1
80ตรม./หน่วย
80ตรม.
Transformer


1
30ตรม./คน
30ตรม.
Emergency General Room


1
120ตรม./หน่วย
120ตรม.
PABX


1
5ตรม./หน่วย
5ตรม.
Pump Room


1
45ตรม./หน่วย
45ตรม./หน่วย
พื้นที่ใช้งานสุทธิ




320ตรม.
พื้นที่สัญจร 30%




96ตรม.
รวมพื้นที่องค์ประกอบส่วนบริการสาธารณะ





416ตรม.

ส่วนที่จอดรถ
ตาราง 4.11 แสดงความต้องการพื้นที่จอดรถตามกฎหมายแบ่งตามประเภทโครงการ
ประเภทอาคาร

ความต้องการที่จอดรถ
( กรุงเทพ ฯ )
ความต้องการที่จอดรถ
( เทศบาล )
อาคารสำนักงาน

60 ตร.. / คัน


120 ตร.. / คัน

อาคารที่พักอาศัย ประเภทคอนโดมิเนียม
( พื้นที่ UNIT เกิน 60 ตร.. )
1 UNIT / คัน

2 UNIT / คัน

โรงภาพยนตร์ , โรงแสดงคอนเสิร์ต
20 ที่นั่ง / คัน

40 ที่นั่ง / คัน

ภัตตาคาร , ร้านอาหารพื้นที่ตั้งโต๊ะน้อยกว่า 750 ตร..
15 ตร.. / คัน

40 ตร.. / คัน

ภัตตาคาร , ร้านอาหารพื้นที่ตั้งโต๊ะมากกว่า 750 ตร..
30 ตร.. / คัน

40 ตร.. / คัน

ห้างสรรพสินค้า
20 ตร.. / คัน

40 ตร.. / คัน

อาคารขนาดใหญ่
120 ตร.. / คัน

240 ตร.. / คัน


ปริมาณจำนวนที่จอดรถ
พื้นที่ใช้สอยทั้งโครงการ                                                                                                                                                                                                                  = 5,643 ตารางเมตร
จากลักษณะของประเภทอาคารของโครงการเข้าข่ายสานักงาน
ดังนั้น = 5,643/120                                                                                                                                                                                                                                              = 47.02
จำนวนที่จอดรถ............................................................................ 47 คัน
รถยนต์ 1 คัน ใช้พื้นที่ 12.00 ตาราเมตร
พื้นที่จอดรถยนต์ทั้งหมด 12 x 47                                                                                                                                                    = 564 ตารางเมตร
พื้นที่จอดบริการและขยะ
รถยนต์ที่จอดรถบริการและขยะ
รถบริการ 1 คัน รถขยะ 1 คัน ใช้พื้นที่คันละ                                                                                                              18 ตารางเมตร
เพราะฉะนั้นต้องการพื้นที่จอดรถบริการและขยะ                                                                    = 36 ตารางเมตร
รวมที่จอดรถบนดิน 564+35                                                                                                                                                                                               = 600 ตารางเมตร

4.2 รายละเอียดโครงการด้านรูปแบบ (FORM NEEDS)
การเลือกที่ตั้งโครงการในส่วนของรายละเอียดย่อย 3 แห่งนั้นได้มีการกำหนดให้อยู่ในบริเวณอำเภอเมืองจังหวัดระยอง เพื่อให้ง่ายต่อการเข้าถึงโครงการ และสะดวกต่อการดำเนินงานด้านงานวิจัย
4.2.1 หลักเกณฑ์การเลือกที่ตั้งโครงการ(Criteria for Site Selection)
ที่ตั้งโครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง เป็นโครงการที่ต้องการที่ตั้งที่มีประสิทธิภาพใกล้เคียง เพื่อส่งเสริมให้โครงการดำเนินงานไปได้อย่างมีประสิทธิภาพมากที่สุด ดังนั้นหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกที่ตั้งโครงการทั้ง 3 แห่งที่มีประสิทธิภาพใกล้เคียงกันมี ดังนี้
-    การเชื่อมโยงกลุ่มเป้าหมาย
เนื่องจากโครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม เป็นโครงการเพื่อการค้นคว้าวิจัย และเผยแพร่ความรู้ทางด้านสิ่งแวดล้อมให้กับประชาชน และนักเรียนที่สนใจ เพราะฉะนั้น การเลือกพื้นที่โครงการควรคำนึงถึงแหล่งของกลุ่มเป้าหมายของโครงการด้วย                       
-การคมนาคม
ต้องมีการคมนาคมที่สะดวกในด้านการจัดซื้ออุปกรณ์การทดลองต่างๆ และเพื่อความสะดวกในการเข้าถึงของกลุ่มเป้าหมายโครงการ
-สภาพแวดล้อม
เนื่องจากโครงการเป็นศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม สภาพแวดล้อมโดยรอบโครงการจึงมีความสำคัญในการดำเนินงานวิจัย มีความเหมาะสมเอื้ออำนวย และส่งเสริมโครงการ
-โครงการสนับสนุน
ควรมีโครงการสนับสนุนที่มีกลุ่มเป้าหมายเดียวกันที่สามารถมาร่วมทำกิจกรรมด้วยกันได้ เพราะนอกจากกลุ่มเป้าหมายหลักที่เป็นนักวิจัยแล้ว กลุ่มเป้าหมายรองก็จำเป็นต้องหากิจกรรมเพื่อมาดึงดูดกลุ่มเป้าหมายกลุ่มนั้นด้วย



-การเชื่อมต่อ
พื้นที่ตั้งโครงการควรมีการเชื่อมต่อกับแหล่งกิจกรรมอื่นๆ ที่มีลักษณะสนับสนุนโครงการและกลุ่มผู้ใช้โครงการทั้งกลุ่มเป้าหมายหลักและเป้าหมายรองได้ รวมทั้งการเข้าถึงพื้นที่หรือสถานที่ต่างๆ ที่เป็นไปได้อย่างสะดวกด้วยการรองรับของระบบคมนาคมพื้นฐาน
4.2.2หลักเกณฑ์ในการเปรียบเทียบที่ตั้งโครงการ
                 โครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดระยอง เป็นอาคารวิจัยและเผยแพร่ความรู้ทางด้านสิ่งแวดล้อม เป็นโครงการต้องมีการพิจารณาองค์ประกอบต่างๆ โดยเฉพาะจะต้องอยู่ในที่ตั้งที่เหมาะสมทั้งรูปลักษณ์อาคารและกลุ่มเป้าหมาย รวมถึงจุดประสงค์ของโครงการ ดังนั้นหลักเกณฑ์การพิจารณาที่ตั้ง(site)โครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม จังหวัดระยองจึงมีดังนี้
-ความปลอดภัย
     เนื่องจากโครงการศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อม เป็นโครงการที่มีการคิดค้น และวิจัยหาแนวทางการแก้ปัญหาสิ่งแวดล้อม ซึ่งจะมีการใช้เครื่องมืดเฉพาะด้านที่มีราคาสูง จึงความมีการรักษาความปลอดภัย ป้องกันการขโมยเครื่องมือ และข้อมูลทางด้านงานวิจัย
-โครงการสนับสนุน
     ควรมีโครงการใกล้เคียงที่ช่วยสนับสนุนโครงการ คือมีโครงการที่มีกลุ่มเป้าหมายเดียวกันเข้ามาใช้โครงการนั้นๆ และทำกิจกรรมร่วมกันได้
-ระบบการขนส่ง
     ทำเลที่ตั้งโครงการควรอยู่ในเขตพื้นที่ที่มีความพร้อมของเส้นทางคมนาคมสายหลัก สายรอง การจราจร และระบบขนส่งมวลชนรองรับ มีความสามารถในการเชื่อมต่อกับบริเวณพื้นที่ต่างๆ และความสามารถในการขยายตัวในการรองรับการเจริญที่เพิ่มขึ้นในอนาคตของชุมชน
-ระบบสาธารณูปโภค สาธารณูปการ
     ที่ตั้งโครงการควรมีระบบสาธารณูปโภค และระบบสาธารณูปการที่เพียบพร้อมต่อโครงการ และสามารถรองรับการขยายตัวทางด้านต่างๆ ของโครงการได้
-แนวโน้มในการจำกัดเขตการใช้ที่ดิน
     บริเวณทำเลที่ตั้งของโครงการต้องมีความเหมาะสมกับแนวโน้มที่มีการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินในอนาคต และการใช้ที่ดินเพื่อโครงการจะได้รับประโยชน์จากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น




ระดับคะแนนในแต่ละหลักเกณฑ์ในการพิจารณาเลือกที่ตั้งโครงการ

โครงการสนับสนุน                                                                                                                                                                            6  คะแนน
การคมนาคม                                                                                                                                                                                                           5  คะแนน
ระบบสาธารณูปโภค ระบบสาธารณูปการ                                5  คะแนน
การขยายตัวของโครงการ                                                                                                                              4  คะแนน
ความปลอดภัย                                                                                                                                                                                            5  คะแนน
รวม                                                                                                                                                                                                                                                            25 คะแนน

1.พื้นที่ตั้งโครงการที่ 1
ตำแหน่งที่ตั้ง ติดกับศูนย์วิจัยพืชไร่จังหวัดระยอง
ขนาดที่ตั้งโดยประมาณ 6.25 ไร่
พื้นที่โดยรอบ
ทิศเหนือ                             พื้นที่ว่าง
ทิศใต้                                 ถนนสุขุมวิท
ทิศตะวันออก                      พื้นที่ว่าง
ทิศตะวันตก                        ศูนย์วิจัยพืชไร่จังหวัดระยอง
 



รูปภาพที่ 4.1 แสดงพื้นที่ตั้งโครงการที่1 
ที่มา : Google Earth
2.พื้นที่ตั้งโครงการที่2
ตำแหน่งที่ตั้ง ใกล้กับพื้นที่ศูนย์ศึกษาป่าชายเลน
ขนาดที่ตั้งโดยประมาณ 9 ไร่
พื้นที่โดยรอบ
ทิศเหนือ                             ป่าชายเลน แม่น้ำระยอง
ทิศใต้                                 ถนนเลียบชายฝั่ง
ทิศตะวันออก                      อาคารชั้นเดียว
ทิศตะวันตก                        ศูนย์วิชาการจิรายุพูนทรัพย์






รูปภาพที่4.2 แสดงพื้นที่ตั้งโครงการที่2 
ที่มา : Google Earth

3.พื้นที่ตั้งโครงการที่3
ตำแหน่งที่ตั้ง ใกล้กับสถานีกระจายเสียงกรมอุตุนิยมวิทยา
ขนาดที่ตั้งโดยประมาณ 6 ไร่
พื้นที่โดยรอบ
ทิศเหนือ                                         พื้นที่ว่าง
ทิศใต้                                                         ถนนหาดแม่รำพึง
ทิศตะวันออก                      สวนอาหาร
ทิศตะวันตก                        ถนนหาดแม่รำพึง



รูปภาพ4.3 แสดงพื้นที่ตั้งโครงการที่3 
ที่มา : Google Earth

4.16 ตารางการเปรียบเทียบที่ตั้งโครงการทั้ง3แห่ง

หลักเกณฑ์
น้ำหนักคะแนน
Site1
Site2
Site3
ระดับ
คะแนน
ระดับ
คะแนน
ระดับ
คะแนน
โครงการสนับสนุน
6
C
12
A
24
B
18
การคมนาคม
5
C
15
B
25
B
15
ระบบสาธารณูปโภค-
ระบบสาธารณูปการ
5
A
20
A
20
A
20
การขยายตัวของโครงการ
4
A
16
B
12
B
12
ความปลอดภัย
5
A
20
A
20
A
20
รวม


83

91

85


สรุปที่ตั้งศูนย์วิจัยสิ่งแวดล้อมจังหวัดระยอง

เนื่องจากการพิจารณาเปรียบเทียบที่ตั้งโครงการด้วยหลักเกณฑ์ต่างๆทั้ง 3แห่งแล้ว สรุปได้ว่าที่ตั้งโครงการที่2 ซึ่งอยู่ใกล้กับบริเวณแม่น้ำระยอง และบริเวณพื้นที่ป่าชายเลน มีศักยภาพเหมาะสมกับโครงการ ซึ่งมีสภาพแวดล้อม และโครงการสนับสนุนอยู่บริเวณใกล้เคียง

ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น